วิธีการในการจำแนกเชื้อจุลินทรีย์ (Microbial Identification) เพื่อให้ทราบถึงข้อมูลระดับ Genus หรือ Species ในปัจจุบันมีหลากหลายวิธีให้เลือกใช้ โดยเริ่มตั้งแต่วิธีการที่ไม่ยุ่งยากไปจนถึงการใช้เครื่องมือที่ต้องอาศัยเทคนิค และความเชี่ยวชาญในการวิเคราะห์ผล ตามลำดับดังนี้
1. การดูลักษณะสัณฐานวิทยา (Morphology) ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ โดยวิธีการย้อมแกรม (Gram Staining)
2. ศึกษารูปแบบการเลือกใช้สารชีวเคมีในการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หรือ Biochemical Testing
3. จำแนกตามขนาดมวลโมเลกุลของ Ribosomal Protein ที่อยู่ภายในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตด้วยเทคนิค MALDI-TOF
4. จำแนกตามความแตกต่างของสารพันธุกรรมจากบริเวณลำดับอนุรักษ์ (Conserved Region) โดยวิธี DNA Sequencing
ซึ่งวิธีการ หรือเครื่องมือดังกล่าวจะถูกนำมาใช้สถานที่ต่างๆ เช่น ในวิชาเรียนในระดับมหาวิทยาลัย ในหน่วยงานวิจัยที่เกี่ยวกับเชื้อจุลินทรีย์ ห้องปฏิบัติการเพื่อวินิจฉัยหรือจำแนกเชื้อจุลินทรีย์ ห้องปฏิบัติการของโรงพยาบาลต่างๆ รวมไปถึงในโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องการทราบชนิดของเชื้อจุลินทรีย์
|
|
|
|
API 20E (Ref. 20100) | API STAPH (Ref. 20500) | API 20 C AUX (Ref. 20210) | API ZYM (Ref. 25200) |
API 20NE (Ref. 20050) | API 20 STREP (Ref. 20600) | API CANDIDA (Ref. 10500) | API 20 A (Ref. 20300) |
API CAMPY (Ref. 20800) | API LISTERIA (Ref. 10300) | API 50 CHB/E (Ref. 50430) | |
API NH (Ref. 10400) | API CORYNE (Ref. 20900) | API 50 CHL (Ref. 50410) |